ค้นหา

Educate

การขยายพันธุ์พืช

การขยายพันธุ์พืช หมายถึง การเพิ่มจำนวนต้นพืชให้มีปริมาณมากขึ้น โดยคงไว้ซึ่งคุณสมบัติ ลักษณะ และคุณภาพในการผลิตให้ดีเท่าเดิมหรือดียิ่งขึ้นไป ซึ่งการขยาย พันธุ์พืชจะทำให้ได้รับประโยชน์ ดังนี้ อ่านเพิ่มเติม “การขยายพันธุ์พืช”

รูปทางเรขาคณิต

หกเหลี่ยมด้านเท่า
หกเหลี่ยมด้านเท่า
ปริซึมฐานสามเหลี่ยม
ปริซึมฐานสามเหลี่ยม

อ่านเพิ่มเติม “รูปทางเรขาคณิต”

จำนวน (Numbers)

จำนวน (Number)

จำนวนเป็นแบบบล็อกที่สร้างพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ จำนวนบางจำนวนมีสมบัติร่วมกันและสามารถจัดเข้าเป็นกลุ่มในเซต อ่านเพิ่มเติม “จำนวน (Numbers)”

แผนภูมิรูปวงกลม

แผนภูมิรูปวงกลม (Pie chart) เป็นการนำเสนอข้อมูลโดยวิธีแบ่งพื้นที่ในรูปวงกลมออกเป็นส่วนย่อยๆตามสาวนของปริมาณของข้อมูลที่ต้องการเปรียบเทียบ

อ่านเพิ่มเติม “แผนภูมิรูปวงกลม”

คำไวพจน์

พอดีว่ามาอยู่บ้านแล้วเบื่อๆ เปิดดูใบงานเก่าๆตั้งแต่ ม2 เห็นมีความรู้ดีเผื่อว่าจะมีใครก๊อบไปส่งครู 55  อ่านเพิ่มเติม “คำไวพจน์”

German

German

มาทำความเข้าใจกันก่อนนะค่ะว่าถึงแม้ว่าประเทศเยอรมันเค้าจะขึ้นต้นด้วยอักษร G แต่ชื่อย่อของประเทศเค้าก็คือ DE ซึ่งย่อมากจาก Deutschland ประเทศนี้เชื่อว่าหลายคนคงจะรู้จักกันเป็นอย่างดีเพราะว่าอะไรใครก็รู้ แล้วขณะนี้ก็เป็นประเทศที่ยิ่งใหญ่ไม่แพ้ชาติใดเหมือนกัน แล้วก็แถมอีก (โดนครูปิงกรอกหูบ่อยว่าเยอรมันเค้าเก่ง)  อ่านเพิ่มเติม “German”

ช่างสิบหมู่

ช่างสิบหมู่

ช่างสิบหมู่ คือ ช่างหลวง ซึ่งได้แก่ ช่างที่พระมหากษัตริย์ทรงเรียกใช้งานใกล้พระองค์ในการสร้างสรรค์ศิลปกรรมสนองต่อองค์พระมหากษัตริย์และพระพุทธศาสนา ซึ่งเป็นหมู่บุคคลที่ถูกคัดเลือกแล้วว่ามีฝีมือดีในแต่ละด้าน คำว่าช่างสิบหมู่ไม่ได้หมายความว่ามีอยู่ 10 หมู่ช่างแต่มีความหมายเพียงหมู่ช่างที่ทำงานด้านศิลปกรรมเท่านั้น และหมู่ช่างดังกล่าวก็มีมากมายเกินสิบเสียด้วยซ้ำ แต่ในปัจจุบันได้จัดไว้เพียงไม่กี่ช่างตามสภาพเศรษฐกิจและสังคมปัจจุบัน ดังจะกล่าวดังนี้ อ่านเพิ่มเติม “ช่างสิบหมู่”

เส้นขนาน

เส้นขนาน

เส้นขนาน (//) คือ เส้นตรงสองเส้นที่อยู่บนระนาบเดียวกัน ไม่ตัดกัน และมีระยะห่างระหว่างทั้งสองเท่ากันตลอด เส้นขนานอาจเป็นเส้นตรงหรือเส้นโค้งก็ได้ เช่น รางรถไฟ ขอบยางในรถยนต์ อ่านเพิ่มเติม “เส้นขนาน”

ที่มาของไตรภูมิพระร่วง

ที่มา ไตรภูมิพระร่วง
เป็นพระราชนิพนธ์ของพระมหาธรรมราชาลิไทซึ่งแต่งขึ้นเมื่อปีพุทธศักราช ๑๘๘๘ โดยมีพระประสงค์ที่จะเทศนาโปรดพระมารดา และเพื่อจำเริญพระอภิธรรม ไตรภูมิพระร่วงเป็นหลักฐานชิ้นหนึ่งที่แสดงให้เห็นถึงพระปรีชาสามารถอย่าง ลึกซึ้ง ในด้านพุทธศาสนาของพระมหาธรรมราชาลิไทที่ทรงรวบรวมข้อความต่างๆ ในคัมภีร์พระพุทธศาสนา นับแต่พระไตรปิฎก อรรถกถา ฎีกา และปกรณ์พิเศษต่างๆ มาเรียบเรียงขึ้นเป็นวรรณคดีโลกศาสตร์เล่มแรกที่แต่งเป็นภาษาไทยเท่าทีมี หลักฐานอยู่ในปัจจุบันนี้ (อ้างอิงจาก นิยะดา เหล่าสุนทร, ไตรภูมิพระร่วง การศึกษาที่มา. กรุงเทพ : สำนักพิมพ์แม่คำผาง, ๒๕๔๓ หน้า ๑๑) อ่านเพิ่มเติม “ที่มาของไตรภูมิพระร่วง”

บลอกที่ WordPress.com .

Up ↑